วันอาทิตย์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2555

ต่อจากบทที่2

5.   วิชาภาษาอังกฤษ   Garnish
Shrimp paste, 300 g 80 g 80 g sugar or pepper 3 tablespoons lemon juice 7 tbsp. Table 4 tablespoons fish sauce.
                 How to make
To paste into the fiber Beach fire pounded the coarse axons Pretty chilli, shallots, pounded into the Rua together with fish sauce, lime juice and sugar is mixed with shrimp paste and stir.


            6.   วิชาศิลปะ ๓.การประดิษฐ์ท่ารำในการแสดงนาฏศิลป์
การประดิษฐ์ท่ารำ ในการแสดงนาฏศิลป์ มีหลายประการซึ่งจะต้องนำพิจารณาประกอบ ได้แก่  ประเภทของการแสดง ดนตรี บทร้อง เครื่องแต่งกาย อารมณ์ ความรู้สึก และการเคลื่อนไหวของผู้แสดง ทั้งนี้เพื่อการประดิษฐ์ท่ารำมีความประณีต สวยงาม สื่อความหมายได้ชัดเจน มีความสัมพันธ์สอดคล้องกันทั้งท่ารำ ทำนอง จังหวะของเพลง และเครื่องแต่งกายเหมาะกับชุดการแสดง ในหัวข้อนี้จะได้กล่าวถึง แนวทางในการประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่ และเป็นหมู่
.การประดิษฐ์ท่ารำเป็นคู่
     การประดิษฐ์ท่ารำเป็นคู่  ผู้ประดิษฐ์จะต้องคำนึงถึงส่วนประกอบที่สำคัญ คือ จังหวะ ทำนองเพลง บทร้อง และเครื่องแต่งกาย ซึ่งส่วนประกอบเหล่านี้ ผู้ประดิษฐ์ท่ารำต้องนำมาหลอมรวมให้มีความเป็นเอกภาพ
     ความเป็นเอกภาพในการประดิษฐ์ท่ารำ  การนำเอาองค์ประกอบต่าง ๆ อาทิ ดนตรี จังหวะ บทร้อง และเครื่องแต่งกายทุกส่วนต้องสามารถเชื่อมโยงกันได้ เพื่อสร้างให้เกิดความกลมกลืนไม่ควรมีความแตกต่างในองค์ประกอบกันอย่างมาก  จนทำให้การประดิษฐ์ท่ารำชุดนั้นขาดความเป็นเอกภาพ  การประดิษฐ์ท่ารำที่เป็นคู่ มีแนวดังนี้
    ๑. การประดิษฐ์ท่ารำแนวอนุรักษ์  ส่วนมากจะใช้ท่ารำที่เป็นแบบแผนมาตั้งแต่ดั้งเดิม คือ  เพลงช้า-เพลงเร็ว เพราะทุกท่ารำอยู่ในเพลงช้า-เพลงเร็ว ท่ารำในกลอนตำรารำนั้นเป็นการตีความหมายตามบทร้อง และทำนองเพลง
     .การประดิษฐ์ท่ารำแนวความคิดสร้าสรรค์ จะเป็นการประดิษฐ์ ท่ารำขึ้นใหม่โดยแนวคิดมาจากการรับอิทธิพลของต่างประเทศตะวันออกและตะวันตก
                                                                                                                                                   (6)
 การประดิษฐ์ท่ารำให้กับผู้รำให้กับผู้รำที่เป็นคู่  ผู้ประดิษฐ์ท่ารำจะต้องคำนึงถึงสิ่งดังต่อไปนี้
    (๑) รูปแบบ การรำที่เป็นคู่ หมายถึง การรำเพียง ๒ คนแต่โบราณมานิยมรำในการเบิกโรง  คือ  รำประเลง รำกิ่งไม้เงินทอง หรือ เป็นการรำที่ตัดตอนมาจากละครเรื่องใหญ่ เช่น พระรามตามกวาง พระลอตามไก่ เมขลา-รามสูร รจนาเสียงพวงมาลัยเป็นต้น
       ผู้ประดิษฐ์ท่ารำต้องกำหนดรูปแบบการรำเป็นคู่ให้ชัดเจน เช่น คู่ชาย-หญิง
                                                                                   

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น